ภาษาไทย
ดิน บัวแดง, “ทบทวนเรื่องการเคลื่อนไหวทางการเมืองในจีนและการลี้ภัยไปยังฝรั่งเศสของปรีดี พนมยงค์ (1948-1970) ผ่าน ‘เอกสารปรีดี’ ที่หอจดหมายเหตุกระทรวงการต่างประเทศฝรั่งเศส,” รัฐศาสตร์นิเทศ, ปี 10, ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2567), 236-88, https://so05.tci-thaijo.org/index.php/RatthasatNithet/article/view/274108.
ขวัญชนก กิตติวาณิชย์. “ประวัติศาสตร์ของอคติกับการผลิตสร้างความรู้ในโลกตะวันตก: พระเจ้า วิทยาศาสตร์ เหตุผล การรู้คิด หลังอาณานิคม และการพ้นมนุษย์”. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปี 20, ฉบับที่ 1, มิถุนายน 2024, น. 97-122, doi:10.69650/jssnu.2024.266771.
สิงห์ สุวรรณกิจ และ ทินกฤต สิรีรัตน์, “ว่าด้วยอุดมการณ์และโครงสร้างของหลุยส์ อัลธูแซร์: สํารวจงานศึกษาในไทยและข้อเสนอในการอ่านใหม่” [On Louis Althusser’s Ideology and Structure: A Survey of Writings in Thai and a Proposal for a Re-reading], มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 25, 1 (มกราคม-เมษายน 2567 [2024]): 159-188.
พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง. “รัฐธรรมนูญนิยมและความเป็นพลเมืองไทยในฐานะส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาสาธารณรัฐนิยมสมัยใหม่สากล (ค.ศ. 1885 – 1932).” วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 53 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม - ธันวาคม 2566).
วราภรณ์ เรืองศรี. “อุบลวัณณา : ผู้หญิงในประวัติศาสตร์เปลี่ยนผ่านของยุคสมัย.” วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2566), หน้า 1-34.
ธิกานต์ ศรีนารา. การเมืองวัฒนธรรมของซ้ายไทย. แสงดาว, 2566.
สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. เป็นจีนเพราะรู้สึก: ประวัติศาสตร์เสื่อผืนหมอนใบที่เพิ่งสร้าง. มติชน, 2566.
สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. เขียนจีนให้เป็นไทย. มติชน, 2565.
กฤตภัค งามวาสีนนท์. คิด, เร็ว ช้า ความรู้ อำนาจ และการประกอบสร้างตัวตน : จากโรคซึมเศร้าถึงเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์ ศยาม, 2565.
วราภรณ์ เรืองศรี. กาดก่อเมือง: ชาติพันธุ์และคาราวานการค้าล้านนา. กรุงเทพฯ: มติชน, 2564.
ธิกานต์ ศรีนารา. รักและการปฏิวัติ : การเมืองวัฒนธรรมว่าด้วยความรักของปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยยุคสงครามเย็น. ศยาม, 2564.
กฤตภัค งามวาสีนนท์. (2564). “ประวัติศาสตร์โรคซึมเศร้าในสังคมร่วมสมัย: การประกอบสร้างตัวตนภายใต้ร่างกายและ อัตลักษณ์ของความเจ็บป่วยบนพื้นที่จิตเวชศาสตร์สมัยใหม่”, มนุษยศาสตร์สาร, (22) 2. 253-275.