Skip to main content

หัวข้อวิทยานิพนธ์

พรุ่งนี้รวย”: ธุรกิจ ความฝัน และการเปลี่ยนแปลงตัวตนของ “ผู้ประกอบการลอตเตอรี่” อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พ.ศ. 2540-2565

 

อาจารย์ที่ปรึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์

 

นพพล แก่งจำปา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และระดับปริญญาโท สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2565

 

ความเชี่ยวชาญ/ความสนใจ

  • การเมืองเชิงวัฒนธรรม
  • ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ
  • ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

 

สิ่งตีพิมพ์

  • นพพล แก่งจำปา และสก็อต แลร์ด โรลสตัน. “พระธาตุศรีสองรักแห่งเมืองด่านซ้าย: ความหมายและการนิยามความหมายในบริบทการท่องเที่ยว.” วารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (ออนไลน์) 1, 1 (มกราคม – เมษายน 2565): 8-21.
  • นพพล แก่งจำปา. ประวัติศาสตร์เมืองเลย:การก่อรูปสังคมเมืองและศูนย์กลางจังหวัด. มหาสารคาม: โครงการผลิตและเผยแพร่ตำราและผลงานวิชาการ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2563.
  • นพพล แก่งจำปา. “ท่องเที่ยวเทศกาลผีตาโขน: การเดินทางของผีชายขอบสู่โลกกว้างและการสร้างพื้นที่ทางสังคมของชาวด่านซ้ายในบริบทของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว.” วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน 102 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2562):169-193.
  • นพพล แก่งจำปา, ทม เกตุวงศา และณัฐหทัย มานาดี. “การพัฒนาเมืองเลยในยุคสงครามเย็น.” 355-371. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศรีโคตรบูรณ์ศึกษา ครั้งที่ 1 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. 2 พฤษภาคม 2562, คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม.
  • นพพล แก่งจำปา. พัฒนาการของด่านพรมแดนและการปรับตัวของคนชายแดนท่าลี่ จังหวัดเลย พ.ศ. 2449-2561.” วารสารการบริหารปกครอง 8, 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2562): 80-105.
  • นพพล แก่งจำปา และสุพัฒน์ พระเมืองคง. การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อการจัดการแหล่งเรียนรู้บ้านทรายขาว ตำบลทรายขาว อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย.วารสารมนุษย์กับสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5, 1 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2562): 7-20.
  • นพพล แก่งจำปา. “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมกับการเคลื่อนไหวต่อต้านเหมืองแร่ทองคำของชาวบ้าน “กลุ่มคนรักษ์บ้านเกิด”จังหวัดเลย.” 200-216. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านชายแดนศึกษาและการพัฒนาระหว่างประเทศ ครั้งที่ 115-16 มิถุนายน 2561, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
  • นพพล แก่งจำปา และธิติญา เหล่าอัน. การเมืองภาคประชาชน: กรณีศึกษาการเคลื่อนไหวต่อต้านเหมืองแร่ทองคำของชาวบ้าน “กลุ่มรักษ์บ้านเกิด” ตำบลเขาหลวง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย.” วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 1343 (มกราคม - มีนาคม 2561): 86-97.
  • นพพล แก่งจำปา. “การเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและการพัฒนาเมืองเลย ระหว่างปี พ.ศ. 2498-2524.” วารสารมนุษย์กับสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 3, 1 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560): 63-80.
  • นพพล แก่งจำปา. “หวยอีสานในดินแดนล้านนา: เรื่องเล่าการเดินทางของคนขายสลากกินแบ่งรัฐบาลชาวอีสานในพื้นที่ภาคเหนือประเทศไทย.” มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ปริทัศน์ 41 (มกราคม – มิถุนายน 2559): 18-35.
  • นพพล แก่งจำปา. “บุญภูทับฟ้า สืบชะตาซำป่าบอน หาบคอนภูเหล็กกับการเคลื่อนไหวต่อต้านเหมืองแร่ทองคำของชาวบ้าน “กลุ่มรักษ์บ้านเกิด”ตำบลเขาหลวง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย.” 43-52. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14-6 มีนาคม 2559, มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
  • นพพล แก่งจำปา. “ประวัติศาสตร์การขยายตัวของชุมชนในเขตเทศบาลเมืองเลย ระหว่างปี พ.ศ. 2396 – 2556.” 205-214. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 3 Local StudiesASCC Studies17 สิงหาคม 2558, มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์.
  • นพพล แก่งจำปา. “เมืองด่านซ้ายในระเบียบความสัมพันธ์รัฐจารีต.” วารสารดอกจาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 142 (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557): 9-19.
  • นพพล แก่งจำปา. “พระธาตุศรีสองรัก ความหมายและการเปลี่ยนแปลง.” จดหมายข่าวมนุษย์และสังคมคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ฉบับปฐมฤกษ์ (เมษายน - พฤษภาคม 2556).
  • นพพล แก่งจำปา. “การท่องเที่ยวกับพื้นที่ทางสังคมของคนด่านซ้าย จังหวัดเลย พ.ศ. 2520-2553.” 499-510. ใน การประชุมทางวิชาการ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 9 ความรู้สู่เชิงพาณิชย์นำเศรษฐกิจไทยก้าวไกลอาเซียน. 28 - 29 กรกฎาคม 2556, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • นพพล แก่งจำปา. “ทวิลักษณ์ว่าด้วย “ความเป็นบ้านนอก” กับการกลายเป็น “พื้นที่ท่องเที่ยว” ของเมืองชายแดน :ศึกษากรณีเมืองด่านซ้าย จังหวัดเลย ทศวรรษ 2520-2550.” 69-81. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ครั้งที่ 3 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน. 29-30 ตุลาคม 2554, คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม.

 

ติดต่อ

E-mail: nopphon.tab@gmail.com, nopphon@msu.ac.th