Skip to main content

ภาษาไทย

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง. “รัฐธรรมนูญนิยมและความเป็นพลเมืองไทยในฐานะส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาสาธารณรัฐนิยมสมัยใหม่สากล (ค.ศ. 1885 – 1932).” วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ปีที่ 53 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม - ธันวาคม 2566).

วราภรณ์ เรืองศรี. “อุบลวัณณา : ผู้หญิงในประวัติศาสตร์เปลี่ยนผ่านของยุคสมัย.” วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2566), หน้า 1-34.

ธิกานต์ ศรีนารา. การเมืองวัฒนธรรมของซ้ายไทย. แสงดาว, 2566.

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. เป็นจีนเพราะรู้สึก: ประวัติศาสตร์เสื่อผืนหมอนใบที่เพิ่งสร้าง. มติชน, 2566.

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. เขียนจีนให้เป็นไทย. มติชน, 2565.

กฤตภัค งามวาสีนนท์. คิด, เร็ว ช้า ความรู้ อำนาจ และการประกอบสร้างตัวตน : จากโรคซึมเศร้าถึงเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์ ศยาม, 2565.

วราภรณ์ เรืองศรี. กาดก่อเมือง: ชาติพันธุ์และคาราวานการค้าล้านนา. กรุงเทพฯ: มติชน, 2564.

ธิกานต์ ศรีนารา. รักและการปฏิวัติ : การเมืองวัฒนธรรมว่าด้วยความรักของปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยยุคสงครามเย็น. ศยาม, 2564.

ทินกฤต สิรีรัตน์. “สมมุติว่ามี “ล้านนา”: พื้นที่ อำนาจ-ความรู้ และมรดกของอาณานิคมสยาม.” วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564), หน้า 169-202.

ธิกานต์ ศรีนารา. หลัง 6 ตุลาฯ: ว่าด้วยความขัดแย้งทางความคิดระหว่างขบวนการนักศึกษากับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย. ศยาม, 2563.

สิงห์ สุวรรณกิจ. “ท่องสมุทรแห่งความรู้สึก: วิลเลียม เรดดี้กับประวัติศาสตร์อารมณ์ความรู้สึก” [Navigating Feelings: William Reddy and History of Emotion]. ใน วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์, บรรณาธิการโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ และณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว, 521-574. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ศยาม, 2563.