ภาษาไทย

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. เขียนจีนให้เป็นไทย. มติชน, 2565.

กฤตภัค งามวาสีนนท์. คิด, เร็ว ช้า ความรู้ อำนาจ และการประกอบสร้างตัวตน : จากโรคซึมเศร้าถึงเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์ ศยาม, 2565.

วราภรณ์ เรืองศรี. กาดก่อเมือง: ชาติพันธุ์และคาราวานการค้าล้านนา. กรุงเทพฯ: มติชน, 2564.

ธิกานต์ ศรีนารา. รักและการปฏิวัติ : การเมืองวัฒนธรรมว่าด้วยความรักของปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยยุคสงครามเย็น. ศยาม, 2564.

กฤตภัค งามวาสีนนท์. (2564). “ประวัติศาสตร์โรคซึมเศร้าในสังคมร่วมสมัย: การประกอบสร้างตัวตนภายใต้ร่างกายและ อัตลักษณ์ของความเจ็บป่วยบนพื้นที่จิตเวชศาสตร์สมัยใหม่”, มนุษยศาสตร์สาร, (22) 2. 253-275.

ทินกฤต สิรีรัตน์. “สมมุติว่ามี “ล้านนา”: พื้นที่ อำนาจ-ความรู้ และมรดกของอาณานิคมสยาม.” วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564), หน้า 169-202.

ธิกานต์ ศรีนารา. หลัง 6 ตุลาฯ: ว่าด้วยความขัดแย้งทางความคิดระหว่างขบวนการนักศึกษากับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย. ศยาม, 2563.

สิงห์ สุวรรณกิจ. “ท่องสมุทรแห่งความรู้สึก: วิลเลียม เรดดี้กับประวัติศาสตร์อารมณ์ความรู้สึก” [Navigating Feelings: William Reddy and History of Emotion]. ใน วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์, บรรณาธิการโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ และณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว, 521-574. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ศยาม, 2563.

วราภรณ์ เรืองศรี. “ละครชีวิตของมาร์แต็ง แกร์: การเขียนประวัติศาสตร์คนสามัญของนาตาลี ซีโมน เดวิส” ใน วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศยาม, 2563.

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. “การสร้างความรู้ความสัมพันธ์ไทย-จีนและการประยุกต์ใช้แนวพินิจพรมแดนกับการศึกษาความสัมพันธ์ไทย-จีนผ่านการส่องสำรวจชีวิต เจียแยนจอง.” วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563).

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. “การทูตวิชาการและความ(ไม่)รู้ ในความสัมพันธ์ไทย-จีน”. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562).

วิลลา วิลัยทอง. “โรงเรียนเสริมสวย การตลาดความงาม และ “ผมสวย แบบนำสมัย” ในสังคมไทยยุค “พัฒนา”,” ใน ความ (ไม่) เป็นสมัยใหม่: ความเปลี่ยนแปลงและย้อนแย้งของไทย, บรรณาธิการโดยธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2560.